ระบบ Production จะเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบ ERP.
จะมีข้อมูลที่ส่งมาจาก Planning จะเป็น ตารางการผลิตประจำวัน
Work Order Sheet
สำหรับควบคุม การทำงานของ Line ผลิต (Shop Floor Control)
แยกออกตาม Operation (Work Station) จะทำการ Process ตาม Product Structure
ยังมีส่วน ของการแปรรูปวัตถุดิบ เช่น ขนาด Size ไม่สามารถ เข้าเครื่องจักร ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ได้
ต้องผ่านการแปรรูปก่อน
ยังมีชิ้นส่วน (Semi-finished) ที่ต้อง รับจาก Subcontract (ถ้ามี) สำหรับนำไป Assembly ในขั้นตอน Process ต่อไป.
ข้อมูลใบสั่งผลิต Work Order จะถูก Load ไปยัง Work Station (Operation) ในของแต่ละวัน ควบคุมการทำงาน ตาม Job Order
ส่วนของ Work Center จะมีการบันทึก ข้อมูล ของ เจ้าหน้าที่
(Supervisor) และ labor(สำหรับบันทึกรายงานผลการผลิตย่อย PDR เพื่อนำไปวิเคราะห์ ในเรื่องของ KPI)
พิมพ์ ป้าย (Tag) สำหรับ Lot Control
ในเมนู Query สามารถ สอบถาม ยอดสรุป เช่น Forecast Materialได้
Worksheet (ตาราง) ในการแสดงข้อมูล สามารถ sort,
filter ได้หลากหลาย และ ยัง hide,show ข้อมูล บาง column ได้
มี pdf readerในตัวโปรแกรมที่ browser support(chrome,edge)
สำหรับอ่านไฟล์สามารถ export data ไปยัง excel พิมพ์รายงานได้.
เนื่องจาก โปรแกรมควบคุมการทำงานด้วย Job no. จะมี Dasdboard ช่วยตรวจสอบ สถานะ Job สถานะ Order ของแต่ละวัน และ การวางแผน ถึงขั้นตอนไหนแล้วบ้าง เพื่อไม่ต้องมาจดจำ สำหรับผู้วางแผน ยังช่วยในการติดตามงาน
การผลิตจะเริ่มที่ Work Station หลังจาก รับใบสั่งผลิต จาก Work Center
การบันทึกรายงานผลิต(Work Order Report) และ รายงานการผลิตย่อย (PDR.)
การจัดการบริหารวัตถุดิบ เมื่อผ่าน QAR. หรือ แปรรูปวัตถุดิบมาแล้ว ขั้นตอนการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ เป็นการ Load วัตถุดิบเข้าเครื่องจักร (สำหรับรายงานการใชัวัตถุดิบ)
ระบบ MRP. จะจัดการ Stock อัตโนมัติ (ลดการป้อนข้อมูล เบิกจ่าย สินค้า วัตถุดิบ)
ยังมีการออกใบขอสั่งจ้าง Subcontract ไปยังระบบ Supply Chain.
ส่งสินค้า (Subcontract) ไปยัง Supply Chain เพื่อจัดซื้อจัดจ้าง
ระบบคลังสินค้า Inventory สำหรับการจัดเก็บ
ส่วนมากจะเป็น Made to Stock ส่วน OEM ไม่ต้องจัดทำ Stock เพราะผลิตเสร็จจัดส่งเลย รวมทั้ง
ประเภท Overhead (Factory Use) จัดซื้อแบบ EOQ.
ระบบบัญชีต้นทุน Cost Account (ในการนำข้อมูลมาคิดต้นทุน ใช้ข้อมูลจากรายงานการใช้วัตถุดิบ)